วันพุธที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2555

ความแตกต่างระหว่าง Ethernet/Internet/Extranet


ความแตกต่างระหว่าง Ethernet/Internet/Extranet
ความแตกต่างระหว่างอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง

อีเทอร์เน็ต (Ethernet)
หมายถึง ความหมายที่มีอยู่ทั่วไปของอีเทอร์เน็ตซึ่งมีหลากหลายมาตรฐานอีเทอร์เน็ตพัฒนาขึ้นโดยบริษัท Xerox(โดยได้แนวคิดมาจากโครงการสื่อสารผ่านดาวเทียม Aloha ที่พัฒนาขึ้นที่มหาวิทยาลัย Hawaii) เพื่อเป็นมาตรฐานสำคัญของเครือข่าย LANที่ใช้กันอยู่ทั่วไป

อินเทอร์เนต (Internet)
สำหรับประเทศไทย มีพัฒนาการมาจากระบบเครือข่ายคอมพิว เตอรข์ของ มหาวิทยาลัยชื่อ ไทยสาร (ThaiSarn : Thai Social Scientific Academic &Research Network) เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ความรู้ตลอดจนข้อคิดเห็นของ นักวิจัย นักวิชาการ โดยจุดแรกที่มีการเชื่อมโยงเข้ากับอินเตอร์เน็ตได้แก่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยประมาณปี พ.ศ. 2535 และ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ในปีถัดมา ทำให้หน่วยงานต่างๆ ที่มีระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เชื่อมโยงกับหน่วยงานทั้งสองสามารถใช้บริการจากเครือข่ายอินเตอร์เน็ตได้

ประโยชน์ของอินเทอร์เนต (Internet)
เป็นแหล่งข้อมูลที่ลึกกและกว้าง เพราะข้อมูลถูกสร้างได้ง่าย แม้นักเรียน หรือผู้สูงอายุก็สร้างได้เป็นแหล่งรับ หรือส่งข่าวสาร ได้หลายรูปแบบ เช่น Mail, Board, Icq, Irc, Sms หรือ Web เป็นต้นเป็นแหล่งให้ความบันเทิง เช่น เกม ภาพยนตร์ ข่าว หรือห้องสะสมภาพ เป็นต้นเป็นช่องทางสำหรับทำธุรกิจ สะดวกทั้งผู้ซื้อและผู้ขาย เช่น e-commerce หรือบริการโอนเงินใช้แทนหรือเสริมสื่อที่ใช้ติดต่อสื่อสาร ในปัจจุบัน โดยเสยี ค่าใช้จ่ายและเวลาที่ลดลงเป็นช่องทางสำหรับประชาสัมพันธ์สินค้า บริการหรือองค์กร

เอ็กซ์ทราเนต (Extranet)คือ
Internet, Intranet and Extranet
ระบบเครือข่ายซึ่งเชื่อมเครือข่ายภายในองค์กร หรือ อินทราเน็ต (Intranet) เข้ากับระบบคอมพิวเตอร์ที่อยู่ภายนอกองค์กร เช่น ระบบคอมพิวเตอร์ของสาขาของผู้จัดจำหน่ายหรือของลูกค้า เป็นต้น โดยการเชื่อมต่อเครือข่ายอาจเป็นได้ทั้งการเชื่อมต่อโดยตรงระหว่าง 2 จุด หรือการเชื่อมต่อแบบเครือข่ายเสมือน (Virtual Network) ระหว่างระบบอินทราเน็ตหลาย ๆ เครือข่ายผ่านอินเทอร์เน็ตก็ได้, Intranet and Extranet ระบบเครือข่ายแบบเอ็กซ์ทราเน็ต โดยปกติแล้วจะอนุญาตให้ใช้งานเฉพาะสมาชิกขององค์กร หรือผู้ที่ได้รับสิทธิในการใช้งานเท่านั้น โดยผู้ใช้จากภายนอกที่เชื่อมต่อเข้ามาผ่านเครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ต อาจถูกแบ่งเป็นประเภท ๆ เช่น ผู้ดูแลระบบ สมาชิก คู่ค้า หรือผู้สนใจทั่วๆ ไป เป็นต้น ซึ่งผู้ใช้แตล่ ะกลุ่มจะได้รับสิทธิในการเข้าใช้งานเครือข่ายที่แตกต่างกันไป

..........................................................................................
โดย นางสาววนิดา มุ้ยเผือก
คณะเทคโนโลยีการจัดการ
สาขาการจัดการทั่วไป
วิชาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
กลุ่มเรียน พุธเช้า (08.00 -11.00)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น